Hospital โรงพยาบาล Health สุขภาพ Clinic คลินิก Surgery ศัลยกรรม ความงาม ตรวจสุขภาพHospital โรงพยาบาล Health สุขภาพ Clinic คลินิก Surgery ศัลยกรรม ความงาม ตรวจสุขภาพHospital โรงพยาบาล Health สุขภาพ Clinic คลินิก Surgery ศัลยกรรม ความงาม ตรวจสุขภาพHospital โรงพยาบาล Health สุขภาพ Clinic คลินิก Surgery ศัลยกรรม ความงาม ตรวจสุขภาพHospital โรงพยาบาล Health สุขภาพ Clinic คลินิก Surgery ศัลยกรรม ความงาม ตรวจสุขภาพ

Wednesday, October 26, 2011

โรคน้ำกัดเท้า น้ำท่วม Foot Flood

โรคน้ำกัดเท้า น้ำท่วม Foot Flood
โรคน้ำกัดเท้า การป้องกันในภาวะน้ำท่วม Foot Flood - Hospital โรงพยาบาล ...
www.hospitalhealthhit.com/2011/10/foot-flood.html
การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม ดูคลิปhttp://hospitalhealthclinic.blogspot.com/2011/10/foot-flood.html. โรคน้ำกัดเท้า การป้องกันในภาวะน้ำท่วม ... โรคน้ำกัดเท้า น้ำท่วม Foot Flood

โรคน้ำกัดเท้า น้ำท่วม Foot Flood "โรคน้ำกัดเท้า" ไม่ปรากฏผู้บัญญัติศัพท์นี้ คงเป็นคำที่เรียกกันไปมาจนติดปาก เพราะสื่อความหมายโดยตรง จนกลายเป็นชื่อโรค จัดเป็นชื่อที่เหมาะสมดี ฟังเข้าใจง่ายโดยไม่ต้องตีความ ดีกว่าชื่อโรคอีกหลายโรคที่ชื่อฟังยาก ยิ่งชื่อโรคที่ไม่เคยมีบัญญัติภาษาไทย ต้องแปลจากภาษาฝรั่งผู้ป่วยฟังแล้วงง โรคน้ำกัดเท้า เกิดจากเท้าที่แช่น้ำที่มีเชื้อโรค สิ่งปฏิกูล เช่น มูลสัตว์ มูลฝอย ปะปนอยู่เป็นที่รวมของความสกปรก มีฤทธิ์ระคายเคืองต่อผิวหนัง สามารถย่อยโปรตีนผิวหนังให้เปื่อยยุ่ย ยิ่งถ้ามีแผลเปื่อยอยู่ก่อนก็จะยิ่งเป็นมากขึ้น เป็นประตูให้เชื้อโรคเข้าสู่รอยเปื่อยนั้น ทำให้เกิดแผลบวม มีหนองหรือเป็นฝี มีอาการเจ็บปวด เดินไม่ไหว ไข่ดันบวม ถึงกับเป็นไข้

ในระยะแรกนี้ เท้ายังไม่เป็นเชื้อรา เป็นแค่เท้าเปื่อยและมีเชื้อหนอง เชื้อราเกิดจากเมื่อเท้าอับชื้นเป็นเวลานาน ตัวอย่างเช่น ผู้ที่ใส่รองเท้าอบทั้งวัน นักกีฬาที่มีเหงื่อออกมากและมีการอาบน้ำรวมกันหรือแหล่งเดียวกัน เกิดการแพร่เชื้อและติดเชื้อที่ตกค้างอยู่ในบริเวณในห้องน้ำ ผู้ที่เดินย่ำเท้าเปล่าย่ำอยู่บนพื้นดินพื้นทรายที่มีเชื้อราปะปนอยู่ ก็มีโอกาสติดเชื้อราที่เท้าได้ง่าย จะเห็นว่าเชื้อรากว่าจะก่อตัวเข้าไปกัดเท้าต้องใช้เวลา และค่อยเป็นค่อยไป มิใช่จะมาเกิดระบาดในขณะน้ำท่วมในปัจจุบันทันด่วนเช่นที่เป็นอยู่ในขณะนี้ เพราะฉะนั้น โรคที่มากับน้ำท่วม เดินย่ำน้ำจนเท้าเปื่อยจนเกิดน้ำกัดเท้านั้น จึงยังมิใช่ "เชื้อรา" หรือฮ่องกงฟุตตามที่เข้าใจกัน ปรากฏมีผู้ป่วยเป็นจำนวนมากซื้อยาเชื้อรามาใช้อยู่นาน โดยที่ความจริงโรคที่เป็นไม่ใช่เชื้อรา

การป้องกันและรักษา ในระยะนี้จึงเป็นเรื่องของจากรักษาความสะอาดและพยายามให้เท้าแห้งมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ มีข้อแนะนำ 10 ประการในการป้องกันและรักษาโรคน้ำกัดเท้าขณะอยู่ในภาวะน้ำท่วม

1. ควรหลีกเลี่ยงการย่ำน้ำโดยไม่จำเป็น เช่น ท่องน้ำหรือเล่นน้ำเพื่อความสนุก

2. เมื่อจำเป็นโดยหลีกเลี่ยงไม่ได้ ควรใช้รองเท้าบูทที่ทำด้วยยางกันน้ำ หากน้ำยังล้นเข้าไปในรองเท้าบูท ให้ถอดแล้วเทน้ำในรองเท้าทิ้งเป็นคราวๆ ยังดีกว่าแช่อยู่ตลอด

3. เมื่อกลับเข้าบ้านให้ล้างเท้าให้สะอาด โดยแช่น้ำและสบู่ ควรเช็ดให้แห้ง โดยเฉพาะบริเวณซอกเท้า

4. เพื่อให้เท้าแห้งสนิท ให้ใช้แป้งฝุ่นสำหรับโรยตัว โรยที่เท้าและซอกเท้า

5. หากมีบาดแผลให้ใช้แอลกอฮอล์เช็ดแผล แล้วทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ เช่น ทิงเจอร์เบตาดีน

6. ถ้ามีแผลอักเสบบวมและปวด และบางครั้งรุนแรงจนถึงเป็นไข้ ให้กินยาแก้อักเสบ เช่น ซัลฟา เพนิซิลลิน หรืออีริโทรมัยซิน ติดต่อกันเป็นเวลา ๑ สัปดาห์ หรือจนกว่าแผลจะหายดี

7. หากสงสัยว่าจะเป็นเชื้อรา แนะนำให้มาตรวจเชื้อที่สถาบันโรคผิวหนัง ถนนราชวิถี การตรวจ ใช้วิธีขูดขุยที่ผิวบริเวณแผลไปตรวจ ไม่มีอาการเจ็บปวดแต่อย่างใด

8. ไม่ควรเริ่มใช้ยาเชื้อราก่อนการพิสูจน์เชื้อ เพราะอาจทำให้เกิดอาการแพ้ อาจเสียเงินและเสียเวลาโดยใช่เหตุ เนื่องจากยาเชื้อราต้องใช้เวลารักษานานและมีราคาแพง

9. ยารักษาเชื้อราบางชนิด เช่น ขี้ผึ้งวิทฟิลด์ ซึ่งเป็นยาที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากหาง่ายและราคาถูก มีฤทธิ์ทำให้ผิวลอก หากนำมาใช้ขณะน้ำกัดเท้าจะยิ่งก่อให้เกิดการระคายเคือง เจ็บแสบ และผิวถลอกมากขึ้น จึงไม่ควรนำมาใช้ในระยะนี้

10. ขอฝากคำขวัญให้ผู้ที่ต้องย่ำน้ำท่วมขังเสมอว่า "เมื่อลุยน้ำท่วมขังให้ล้างน้ำฟอกสบู่ เช็ดจนแห้ง แล้วเอาแป้งโรย"

โรคน้ำกัดเท้า น้ำท่วม Foot Flood
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่ม : 219
http://campus.sanook.com/943077/น้ำกัดหรือเชื้อรากัดเท้ากันแน่/

โรค น้ำท่วม หลังน้ำท่วม Flood Disease - Hospital โรงพยาบาล ...
www.hospitalhealthhit.com/2011/10/flood-disease.html
โรคที่ต้องระวังในภาวะน้ำท่วม - Diseases to Watch out for During ... โรคน้ำกัดเท้า น้ำท่วม Foot Flood

Monday, October 24, 2011

น้ำท่วม กับ โรคปอดบวม Pneumonia

น้ำท่วม กับ โรคปอดบวม Pneumonia
โรคปอดบวม - วิกิพีเดีย
th.wikipedia.org/wiki/โรคปอดบวม
โรคปอดบวมเป็นโรคปอดและระบบทางเดินหายใจซึ่งเกิดจากภาวะถุงลมในปอดเกิดอักเสบและมีของเหลวไหลท่วม โรคปอดบวมอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย ... น้ำท่วม กับ โรคปอดบวม Pneumonia

โรคปอดบวม
http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww525/ieqd/ieqd-web1/Link/Pneumonia.htm
โรคปอดบวมคืออะไร โรคปอดบวมหมายถึงภาวะปอดซึ่งเกิดการอักเสบ ซึ่งอาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส ซึ่งในสภาวะที่ผิดปกติอาจจะเกิดจาก เชื้อรา และ พยาธิ เมื่อเป็นปอดบวม ... น้ำท่วม กับ โรคปอดบวม Pneumonia



โรคปอดอักเสบหรือปอดบวมในเด็ก (Childhood pneumonia) โรงพยาบาล ...
www.vibhavadi.com/web/mediainfo.php?id=368
โรคปอดอักเสบหรือปอดบวมในเด็ก (Childhood pneumonia) โรงพยาบาลวิภาวดี. น้ำท่วม กับ โรคปอดบวม Pneumonia

PHYATHAI HOSPITAL : โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)
http://phyathai.com/phyathai/new/th/specialcenter/popup_cms_tech_detail.php?cid=31&mid=Tips&subject=%E2%C3%A4%BB%CD%B4%CD%D1%A1%E0%CA%BA%20%28Pneumonia%29
โรคปอดอักเสบ (Pneumonia). พอเข้าฤดูฝน หลายคนอาจรู้สึกไม่ค่อยสบาย หรืออาจเจ็บป่วยกันมากขึ้น ที่เป็นเช่นนี้เพราะมีเชื้อโรคหลายตัวที่มากับฝน ... น้ำท่วม กับ โรคปอดบวม Pneumonia

น้ำท่วม กับ โรคปอดบวม Pneumonia
http://www.vcharkarn.com/varticle/37551

Saturday, October 22, 2011

โรคที่มากับน้ำท่วม Disease Flood

โรคที่มากับน้ำท่วม Disease Flood
โรคทางเดินหายใจ (เช่น หวัด หวัดใหญ่ ปอดบวม) อาการ ครั่นเนื้อครั่นตัว มีไข้ ปวดศีรษะ คัดจมูก มีน้ำมูก ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามร่างกาย อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- ดูแลร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอ โดยหลีกเลี่ยงการเล่นน้ำหรือแช่น้ำเป็นเวลานาน ไม่สวมเสื้อผ้าที่เปียกชื้น เช็ดตัวให้แห้งอยู่เสมอ และสวมเสื้อผ้าให้หนาพอหากอากาศเย็น
- หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่เป็นหวัด
- ปิดปากและจมูกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชูเวลาไอ หรือจาม
- ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยน้ำและสบู่

โรคทางเดินอาหาร (เช่น อุจจาระร่วง อหิวาตกโรค อาหารเป็นพิษ บิด ไทฟอยด์ อาการ ถ่ายอุจจาระเหลว หรือถ่ายเป็นน้ำ หรือถ่ายมีมูกเลือด ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- รับประทานอาหารที่ปรุงสุกและสะอาด ไม่บูดเสีย อาหารกระป๋องยังไม่หมดอายุ กระป๋องไม่บวมหรือเป็นสนิม
- ดื่มน้ำสะอาด เช่น น้ำต้มสุก น้ำขวด
- ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ก่อนปรุงและเตรียมอาหาร ก่อนรับประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย
- ห้ามถ่ายอุจจาระลงน้ำโดยตรง ให้ถ่ายลงในถุงพลาสติก แล้วใส่ปูนขาวจำนวนพอสมควร ปิดปากถุงให้แน่น แล้วนำไปใส่ในถุงดำ (ถุงขยะ)



โรคฉี่หนู (หรือโรคเลปโตสไปโรซิส) และโรคน้ำกัดเท้า อาการโรคฉี่หนู มีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อมากโดยเฉพาะบริเวณ น่องและโคนขา หรือปวดหลัง บางรายมีอาการตาแดง มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ไอมีเลือดปน ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะน้อย ซึม สับสน อาการโรคน้ำกัดเท้า เท้าเปื่อยและเป็นหนอง คันตามซอกนิ้วเท้า ผิวหนังลอกเป็นขุย มีผื่นพุพอง ผิวหนังอักเสบบวมแดง
วิธีป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการลุยน้ำย่ำโคลนโดยไม่จำเป็น
- ถ้ามีบาดแผลต้องป้องกันไม่ให้สัมผัสถูกน้ำโดยสวมรองเท้าบู๊ทยาง
- หากต้องลุยน้ำย่ำโคลนต้องรีบล้างเท้าให้สะอาดด้วยสบู่แล้วเช็ดให้แห้งอยู่เสมอโดยเร็วที่สุด

โรคตาแดง อาการ ระคายเคืองตา ปวดตา น้ำตาไหล กลัวแสง มีขี้ตามาก หนังตาบวม เยื่อบุ ตาขาวอักเสบแดง อาจเริ่มที่ตาข้างหนึ่งก่อน แล้วจึงลามไปตาอีกข้างหนึ่ง
วิธีป้องกัน
- ถ้ามีฝุ่นละอองหรือน้ำสกปรกเข้าตาต้องรีบล้างด้วยน้ำสะอาดทันที
- ไม่ควรขยี้ตา อย่าให้แมลงตอมตา และไม่ควรใช้สายตามากนัก
- ผู้ป่วยโรคตาแดงควรแยกจากคนอื่นๆ และไม่ใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับคนอื่นเพื่อป้องกันไม่ให้โรคแพร่ระบาด

ไข้เลือดออก อาการ ไข้สูงลอย ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว หน้าแดง อาจมีจุดแดงเล็กๆตามลำตัว แขน ขา
วิธีป้องกัน
- ระวังอย่าให้ยุงกัดในเวลากลางวันโดยนอนในมุ้ง ทายากันยุง
- กำจัดลูกน้ำและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้านทุกสัปดาห์โดยปิดฝาภาชนะเก็บน้ำ คว่ำหรือทำลายภาชนะไม่ให้มีน้ำขัง

อุบัติเหตุและการถูกสัตว์ร้ายมีพิษกัดต่อย อุบัติเหตุที่มักเกิดขึ้นช่วงน้ำท่วม ได้แก่ ไฟดูด จมน้ำ การบาดเจ็บจากการเหยียบของแหลมหรือของมีคม อันตรายจากสัตว์มีพิษ เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง ซึ่งหนีน้ำมาหลบอาศัยในบริเวณบ้านเรือน
วิธีป้องกัน
- ถอดปลั๊กอุปกรณ์ไฟฟ้า สับคัทเอาท์ตัดไฟฟ้าในบ้าน ก่อนที่น้ำจะท่วมถึง
- เก็บกวาดขยะ วัตถุแหลมคม ในบริเวณอาคารบ้านเรือน และตามทางเดินอย่างสม่ำเสมอ
- ระมัดระวังดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด

โรคที่มากับน้ำท่วม Disease Flood
http://www.ck-hospital.com/index.php?mo=3&art=554717

Thursday, October 20, 2011

โรคเท้าเปื่อย ฮ่องกงฟุต Hong Kong Foot

โรคเท้าเปื่อย ฮ่องกงฟุต Hong Kong Foot
สาเหตุและที่มาของฮ่องกงฟุต/ฮ่องกงฟุทการดูแลรักษา
http://www.9thai9.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538815943&Ntype=777
ฮ่องกงฟุต หมายถึง อาการแผลเปื่อยที่ง่ามนิ้วเท้า คนทั่วไปเข้าใจว่าเกิดจากการย่ำน้ำ (เน่า) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าฝนที่มีน้ำท่วมขัง บางครั้งก็เรียกกันว่า “น้ำกัดเท้า” ... โรคเท้าเปื่อย ฮ่องกงฟุต Hong Kong Foot

ช่วงนี้เดินทางไปไหนมักเจอฝกตกเป็นประจำ บางแห่งก็มีน้ำท่วมขัง จำเป็นต้องเดินลุยน้ำ กว่าเท้าจะแห้ง ความชื้นก็เกาะอยู่ที่เท้า อันเป็นสาเหตุสำคัญของโรคเท้าเปื่อยหรือฮ่องกงฟู้ต

ฮ่องกงฟู้ต จัดเป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราและแบคทีเรีย เมื่อผิวหนังส่วนเท้าของเราถูกความชื้นอยู่นานๆ ความต้านทานก็จะลดน้อยลง ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะเชื้อราซึ่งชอบอาศัยอยู่ในที่ชื้นและผิวหนังชั้นนอกสุด ยังชีพด้วยเซลล์ที่ตายแล้วเป็นอาหาร เท้ายิ่งเปียกชื้นอยู่นานๆ เชื้อราและแบคทีเรียก็จะยิ่งเจริญเติบโตได้ง่ายขึ้น

อาการของโรคจะมีผื่นคันขึ้น บางครั้งก็เป็นแผ่นสีขาว เป็นขุย โดยเฉพาะตามซอกนิ้วเท้า ยิ่งเกายิ่งมัน ถ้ามีเชื้อแบคทีเรียร่วมอยู่ด้วยจะเกิดการอักเสบบวมแดงเป็นหนอง

วิธีการรักษา เมื่อเกิดอาการควรรีบไปพบแพทย์ผิวหนังตรวจดู อย่าใช้ด่างทับทิมมาแช่เพราะการแช่น้ำจะยิ่งทำให้เท้าชื้นมากขึ้นไปอีก และเมื่อรักษาหายแล้วควรป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก โดยการหลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เท้าชื้น พยายามทำให้เท้าแห้งอยู่เสมอ ท่านที่นิ้วเท้าชิดกันซึ่งจะเป็นสาเหตุให้นิ้วเท้าอับชื้น ก็ใช้แป้งโรยตัว โรยเข้าไปตรงซอกนิ้วเท้า เพราะแป้งจะเป็นตัวซับความชื้น ช่วยให้เท้าแห้งอยู่ตลอดเวลา เท่านี้ก็จะสามารถป้องกันเชื้อราไม่ให้มันเจริญเติบโตได้

อย่างไรก็ตาม ฮ่องกงฟู้ต ไม่ได้เป็นเฉพาะเวลาที่เกิดน้ำท่วมเท่านั้น แต่สามารถเกิดได้ตลอดเวลา เช่น คุณผู้หญิงที่ชอบใส่รองเท้าหัวแหลมๆ ก็เช่นกัน เพราะหัวรองเท้าจะบีบทำให้นิ้วเท้ามาชิดกัน จนเกิดความอับชื้นขึ้นมาและเป็นเหยื่อให้กับเชื้อรา ดังนั้นก่อนสวมรองเท้าหรือถุงเท้าก็ควรเช็ดเท้าให้แห้ง และหากจำเป็นต้องลุยน้ำหรือเดินไปตามซอยเฉอะแฉะควรหมั่นล้างเท้าให้สะอาดแล้วเช็ดให้แห้งจะดีที่สุดสำหรับเท้าของ

โรคเท้าเปื่อย ฮ่องกงฟุต Hong Kong Foot
http://www.socialwarning.m-society.go.th/socwarn/data/views.php?recordID=513

โรคน้ำกัดเท้า - วิกิพีเดีย
th.wikipedia.org/wiki/โรคน้ำกัดเท้า
โรคน้ำกัดเท้า หรือ ฮ่องกงฟุต คือ โรคที่มีอาการคันซึ่งเกิดจากเชื้อราที่เท้า เมื่ออากาศร้อนๆ และเท้าชื้นมากๆ ประกอบกับมีเหงื่อออกมากด้วยจึงเป็นบ่อเกิดของเชื้อราที่เรียกว่า ... โรคเท้าเปื่อย ฮ่องกงฟุต Hong Kong Foot

Tuesday, October 18, 2011

โรคฉี่หนู ในน้ำท่วม Leptospirosis

โรคฉี่หนู ในน้ำท่วม Leptospirosis
โรคไข้ฉี่หนู (Leptospirosis)
www.tm.mahidol.ac.th/tmho/leptospirosis.htm
โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน : โรคเขตร้อน : โรคไข้ฉี่หน ... โรคไข้ฉี่หนู (Leptospirosis) ... เช่น สัตวบาล เกษตรกร และผู้มีอาชีพสัมผัสกับน้ำหรือคนที่ย่ำน้ำในที่น้ำท่วมขังนานๆ ... โรคฉี่หนู ในน้ำท่วม Leptospirosis

โรคไข้ฉี่หนู (Leptospirosis)

โรคไข้ฉี่หนู เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรียที่มีรูปร่างเป็นเกลียว มีชื่อว่า (Leptospira) จึงเรียกชื่อโรคนี้ว่าเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) เชื้อนี้ทำให้เกิดโรคในคนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว สุกร โค กระบือ ม้า แพะ แกะ ฯลฯ และที่สำคัญคือหนู แต่สัตว์ต่างๆ อาจไม่แสดงอาการป่วย

การติดต่อ โรคฉี่หนู
โรคนี้เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน โดยสัตว์ที่เป็นโรคนี้จะขับถ่ายเชื้อโรคออกมากับปัสสาวะ เชื้อจะอาศัยอยู่ได้ในดินที่ชื้นแฉะ หรือมีน้ำขัง และเข้าสู่คนทางผิวหนังอ่อน เช่น ซอกนิ้วมือและเท้า บาดแผลหรือเยื่อเมือก ดังนั้นมักจะพบโรคนี้ในคนที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสัตว์ เช่น สัตวบาล เกษตรกร และผู้มีอาชีพสัมผัสกับน้ำหรือคนที่ย่ำน้ำในที่น้ำท่วมขังนานๆ

แหล่งระบาด โรคฉี่หนู
โรคนี้พบมากในเขตร้อนหรือเขตมรสุม เพราะมีสภาพอากาศที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของเชื้อ และมีสัตว์ที่เป็นรังโรคอยู่ชุกชุม ในประเทศไทยโรคนี้กระจายอยู่ทั่วประเทศ และมีรายงานพบผู้ป่วยมากในภาคอีสาน

อาการ โรคฉี่หนู
คนที่ได้รับเชื้ออาจมีหรือไม่มีอาการ ในผู้ที่มีอาการมักแสดงหลังจากได้รับเชื้อ 2-3 วัน จนถึง 2-3 สัปดาห์ อาการที่สำคัญ คือ มีไข้ ปวดศีรษะ ตาแดง ปวดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่น่อง ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการแทรกซ้อน คือ ตัวเหลือง ตาเหลือง ไตวาย หรืออาการทางสมองและระบบประสาท และอาจถึงตายได้ (อัตราการตายอาจสูง ถึงร้อยละ 10-40)

การวินิจฉัย โรคฉี่หนู
โดยการซักประวัติผู้ป่วยเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงของโรค อาการป่วย การตรวจร่างกาย การตรวจเลือดและปัสสาวะของผู้ป่วย



การรักษา โรคฉี่หนู
โรคนี้หากรักษาตั้งแต่ระยะแรกๆ โดยให้ยาปฏิชีวนะเฉพาะโรคจะได้ผลดีกว่าปล่อยให้มีอาการรุนแรงแล้วจึงรักษาเนื่องจากอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ แต่ไม่ควรซื้อยาปฏิชีวนะมาใช้เอง เพราะอาจเป็นอันตรายจากการแพ้ยา หรือใช้ยาที่ไม่ถูกต้องได้ ดังนั้นควรพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยและรับการรักษาที่ถูกต้อง

การป้องกัน โรคฉี่หนู
ป้องกันไม่ให้เชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยไม่เดินย่ำหรือแช่น้ำอยู่ในน้ำที่ท่วมขัง ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ให้ป้องกันการสัมผัสน้ำโดยใช้รองเท้าบู้ทยาง ถุงมือยาง เป็นต้น
ควรฉีดวัคซีนให้สัตว์เลี้ยง เพื่อไม่ให้เป็นรังโรค
กำจัดหนู และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนู

โรคฉี่หนู ในน้ำท่วม Leptospirosis
http://www.rd1677.com/branch.php?id=36537

โรคที่มากับน้ำท่วม โรคฉี่หนู Leptospirosis
www.kaweeclub.com/b76/leptospirosis/
โรคฉี่หนูมักจะระบาดหน้าฝนโดยจะพบเชื้อโรคในปัสสาวะของหนู ู ... ในที่น้ำท่วมขังโดยมีปัจจัยแวดล้อมเหมาะสม เช่น มีความชื้น แสงส่องไม่ถึง มีความเป็นกรด ... โรคฉี่หนู ในน้ำท่วม Leptospirosis

Sunday, October 16, 2011

การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม Foot Flood

การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม Foot Flood
การป้องกันและดูแลโรคน้ำกัดเท้า
www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/6576 - แคช
การป้องกันและดูแลโรคน้ำกัดเท้า. แพทย์แนะควรใส่ใจซอกนิ้วเป็นพิเศษ. แม้ว่าจะกันฝนได้ แต่กันไม่ให้เท้าเปียกน้ำไม่ได้ ถ้าฝนตกหนัก ... การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม

โรคน้ำกัดเท้า - วิกิพีเดีย
th.wikipedia.org/wiki/โรคน้ำกัดเท้า
ข้ามไปยัง การป้องกัน‎: ... ใส่ถุงเท้าที่ทำด้วยขนสัตว์ดีกว่าผ้าฝ้ายเพราะผ้าขนสัตว์ช่วยซับความชื้นจากเท้า ถ้าเป็นเท้าเปียกควรเปลี่ยนรองเท้า ควรมีรองเท้า 2 คู่ ใส่สลับกัน ... การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม



มาป้องกันโรคน้ำกัดเท้า | ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
http://www.doctor.or.th/node/6011
นอกจากนั้นการรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ ก็จะมีส่วนทำให้ร่างกายของเรา มีภูมิต้านทานเชื้อโรคสูงด้วย “ป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ล้างและเช็ดเท้าให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ” ... การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม

การป้องกันและดูแลโรคน้ำกัดเท้า
http://campus.sanook.com/941863/การป้องกันและดูแลโรคน้ำกัดเท้า/
ถ้าฝนตกหนัก ต้องเดินย่ำน้ำสกปรกตามพื้นถนนไปทำงานหรือกลับบ้านติดต่อกันหลายวันในช่วงหน้าฝน นอกจากเท้าจะชื้นหรือเปื่อยแล้ว ยังอาจจะติดเชื้อโรค ... การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม

การป้องกันโรคน้ำกัดเท้า ในภาวะน้ำท่วม Foot Flood
http://www.rd1677.com/branch.php?id=83149

Friday, October 14, 2011

โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท Bone disease

โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท Bone disease
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท Bone disease เป็นอีกโรคหนึ่งที่ไม่มีใครอยากให้เป็น หรือไม่อยากให้คนใกล้ชิดเป็น เพราะอาการเจ็บปวดและทรมานมาก หรือบางทีอาจส่งผลให้แขนและขาไม่มีแรง หรือไม่สามารถทำงานหรือดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างคนปกติทั่วไป บางคนกลัวว่าจะเป็นอัมพาตหรือเปล่า แก่ตัวไปลำบากช่วยเหลือตัวเองไม่ได้หรือเปล่า แล้วทุกคนรู้หรือไม่ว่าเจ้าโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมันเป็นอย่างไร ทำไมคนถึงเป็นโรคนี้กันเยอะ

หมอนรองกระดูก เป็นอวัยวะส่วนสำคัญที่สันหลัง เป็นหมอนรองกระดูที่ช่วงคั่นกลางรอยต่อของสันหลังแต่ละข้อและระหว่างระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละคู่ โดยหมอนรองกระดูกนี้มีลักษณะยืดหยุ่น เพื่อช่วยให้สันหลังเคลื่อนไหวได้ มีขอบเป็นพังผืดเหนียวแข็งแรง ประกอบไปด้วยเส้นใยประสานกัน ส่วนภายในมีของเหลวคล้ายเจลบรรจุอยู่ ทำหน้าที่รองรับและกระจายน้ำหนัก และลกแรงกระแทกให้กระดูกสันหลังของเรา และทำให้หลังเคลื่อนไหวในทิศทางต่าง ๆ ได้ คุณหมอที่เคยผ่าตัดคุณแม่บอกว่า ภายในโพรงของกระดูกสันหลัง จะมีไขสันหลังบรรจุอยู่และมีเส้นประสาทแยกแขนง จากไขสันหลังไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เส้นประสาทส่วนต้นสุดที่แยกแขนงออกจากไขสันหลัง เรียกว่า “รากประสาท” ซึ่งเป็นส่วนที่อยู่ชิดกับหมอนรองกระดูก บางคนอาจมีการเคลื่อนตัวของหมอนรองกระดูก ไปรบกวนหรือกดทับถูกรากประสาท ทำให้เป็นโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน ที่เรียกว่า “รากประสาทถูกกด"



สาเหตุของการเกิดโรค
อิริยาบถและท่าทางที่ไม่เหมาะสม เช่น ยกของหนัก นั่งนาน การออกกำลังกายรุนแรง จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปลอกหมอนรองกระดูกฉีกขาด ทำให้แยลลี่เคลื่อนที่ออกมากดเส้นประสาท

อาการเริ่มต้นของโรค
1. เริ่มปวดคอ บ่า ไหล่ สะบัก หรือปวดคอร้าวลงแขนข้างใดข้างหนึ่งหรือสองข้าง หรืออาจจะมีอาการชาแขนหรือมือ และไม่มีแรงแขน หาดเป็นที่ระดับคอ
2. เริ่มปวดหลัง หรือปวดหลังร้าวลงขา หรือปวดสะโพกร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง ปวดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่าหมอนรองกระดูกเคลื่อนออกมากดเส้นประสาทมากหรือน้อย ถ้าทิ้งไว้นาน ๆ เส้นประสาทจะทำงานได้น้อยลง อาการชาเหมือนมีเข็มมาทิ่ม หรือมดไต่อยู่ตลอดเวลา และอ่อนแรงหรือไม่มีแรงของขาข้างนั้นจะเริ่มเด่นชัดขึ้น

สำหรับอาการของแม่ฉันเริ่มจากการปวดหลัง ต่อมาก็ร้าวลงขาข้างขวา จนในที่ก็ไม่มีแรงขาทำให้เดินไม่ค่อยได้ หรือบางทีเดินอยู่ก็หมดแรงของกำลังขาไปเฉย ๆ ทำให้ต้องรีบไปพบแพทย์แล้วรู้ทีหลังว่าเป็นโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสานแล้ว ทำให้ต้องเริ่มการรักษาตั้งแต่นั้น จนมีระยะเวลา 7 ปีกว่าแล้ว และได้รับการผ่าตัดไปแล้ว เมื่อต้นปี 53 แต่เมื่อไม่นานมานี้แพทย์ตรวจพบว่ายังมีอีก 2 ข้อที่ยังกดทับเส้นประสาทอยู่ ทำให้ต้องรีบทำการผ่าตัดโดยด่วน

วิธีรักษาจะทำอย่างไร
หากเกิดอาการหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท ควรรีบไปพบแพทย์ หรือที่เรียกกันว่า “นักกายภาพบำบัด” ซึ่งจะให้การรักษาโดยวิธีกายภาพบำบัดก่อน ไม่ใช้ยา ฉีดยา หรือไม่ต้องผ่าตัดแต่ก่อนอื่นนั้นจะต้องมีการซักประวัติตรวจร่างกายอย่างละเอียด เพื่อให้แน่ใจว่าอาการดังกล่าวนั้นเกิดจากหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เนื่องจากการปวดหลังหรือปวดหลังร้าวลงขา อาจมาจากสาเหตุอื่นได้เช่น

1. กล้ามเนื้อสะโพกอักเสบเรื้อรังจนบีบเส้นประสาท
2. กล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรังของหลัง
3. ข้อต่อกระดูกเชิงกรานผิดปกติ

สำหรับแม่ฉันท่านใช้วิธีการผ่าตัด เพราะอาการหนักมากแล้ว ทั้งทานยาละงับปวด ฉีดยา ก็ยังไม่ดีขึ้น หมอจึงตัดสินใจผ่าตัดให้ถึงแม้จะมีความเสี่ยงก็ตาม

การรักษาหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โดยวิธีบำบัดมีดังนี้
1. ลดอาการปวดและอาการเกร็งกล้ามเนื้อ โดยใช้ประคบร้อน หรืออัลตราซาวด์ จะต้องขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วยแต่ละราย
2. ลดการอักเสบของเส้นประสาท ใช้เทคนิคการยืด ดัด ขยับเส้นประสาท
3. ลดการกดทับเส้นประสาท ดัดข้อต่อกระดูกสันหลัง หรือหมอนรองกระดูก เพื่อให้ขยับหมอนรองกระดูกที่เคลื่อนออกมา
4. ลดอาการอักเสบของหมอนรองกระดูกสันหลัง อาจใช้ประคบเย็น หรืออัลตราซาวด์ จะต้องขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วยแต่ละราย
5. แนะนำวิธีปฏิบัติตัวและท่าออกกำลังกายในขณะมีภาวะหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท และหลังจากรักษา เพื่อป้องกันโอกาสที่จะเป็นซ้ำอีก

การป้องกันหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
1. ออกกำลังกายกล้ามเนื้อหลังและหน้าท้องอย่างสม่ำเสมอ
2. ลดงานของกล้ามเนื้อหลังลง โดยปรับท่านั่งให้หลังตรงหรือเดินตัวตรง
3. การปรับเปลี่ยนท่าทางให้เหมาะสม เช่น อย่านั่งนานเกินไป ควรลุกขึ้นยืน ทุก ๆ ชั่วโมง หรือยกของไม่ควรก้ม ควรย่อเข่าแล้วยกของ และถือของชิดตัว

โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท Bone disease
http://www.lazyleo.com/joomla/2010-06-05-15-43-56/389-2010-09-20-14-34-55
http://www.nokroo.com/BrowseContent.php?cat_id=27&id=18388

Friday, October 7, 2011

โรคหัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช Heart Disease

โรคหัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช Heart Disease
โรคหัวใจ - วิกิพีเดีย
th.wikipedia.org/wiki/โรคหัวใจ
โรคหัวใจ การเรียกของ "กลุ่มอาการโรคหัวใจ" ซึ่งเป็นโรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจ ซึ่งแยกได้เป็น 8 ประเภทหลัก คือ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคลิ้นหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ ... โรคหัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช Heart Disease

อาการโรคหัวใจ
http://www.thaiheartweb.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538922422&Ntype=2
อาการโรคหัวใจ article. Tweet ทวีต. ความเป็นจริงแล้วคำว่า"โรคหัวใจ"มีความหมายกว้างมาก อาการที่เกิดจากโรคหัวใจหรือสัมพันธ์กับหัวใจนั้น มีไม่มากนัก ดังอาการ ข้างล่างนี้ ... โรคหัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช Heart Disease


โรคหัวใจ โดย โรงพยาบาลนนทเวช ตอน สาเหตุของโรคหัวใจ

โรคหัวใจ|เส้นเลือดหัวใจตีบ|โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
www.siamhealth.net/Disease/heart_disease/acs/index.html
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเกิดจากเส้นเลือดหัวใจตีบทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดมีอาการหัวใจวาย หัวใจเต้นผิดปกติ เป็นลม,myocardial infarction. โรคหัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช Heart Disease

โรคหัวใจ หัวใจ อาการ สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง อาหาร ข้อมูล สุขภาพ - เส้นทาง ...
www.yourhealthyguide.com/article/topic-heart.htm
โรคหัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช Heart Disease ข้อมูลสุขภาพ. สุขภาพใจ สุขภาพจิต · โรคหัวใจ · โรคมะเร็ง · เบาหวาน · โคเลสเตอรอล · ไต · สุภาพสตรี · ผู้สูงอายุ · กระดูกและข้อ · ฟัน · โรคอ้วน · เฉพาะด้านอื่นๆ · สารอาหาร · ทั่วไป ...

โรคหัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช Heart Disease
http://www.sukkaparbdee.com/corner_detail.php?id=119
Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...